วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2550

กระดาษกล้วยไข่

กระดาษกล้วยไข่
กระดาษกล้วยหรือกระดาษกล้วยไข่ท่านทราบไหมว่ามีการเริ่มทำมาจากที่ไหน เมื่อไรและใคร เป็นผู้ริเริ่มขึ้น แต่ไม่ใช่ทีกำแพงเพชร แน่นอน เพราะจากการศึกษาการทำกระดาษาจากวัสดุต่างๆเช่น ปอสา ตะขบป่า ข่อย ฟางข้าว เปลืออกข้าวโพดใบเตย ดอกไม้ทุกชนิด ก้านดอก ดอกดาหลาและวัชพืชอื่นๆอีกมากมาย ทำให้เราได้รู้ถึงธรรมชาติในการทำกระดาษ ที่มีมาช้านานนั้นได้พัฒนา มาจนถึงปัจจุบันทำเป็นสินค้าสามารถส่งไปขายยังต่างประเทศที่ซึ่งมีความต้องการในการตลาดสูง กล้วยไข่ใช่ว่าจะมีการปลูกมากเฉพาะจังหวัดกำแพงเพชรเท่านั้น ทุกพื้นที่สามารถปลูกกล้วยไข่ไดีดีในอีกหลายๆพื้นที่ เช่นที่ อำเภอพนสนิคม จ.ชลบุรี มีการปลูกกันมากสามารถส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ นี่ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่เรื่องการทำกระดาษจากล้วยไข่ หลายๆฝ่ายที่ทำการคิดกรรมวิธีในการที่จะนำต้นกล้วยโดยเฉพาะที่นำเปลือกกล้วยมาใช้ประโยชน์ต่างๆแทนที่จะปล่อยให้เน่าเปลื่อยไปตามธรรมชาติ ในการนำมาทำกระดาษ ซึ่งก็สามารถทำได้ดีมีคุณภาพ ลวดลายสวยงามแบบเรื่องของกล้วย ซึ่งเป็นผลไม้ของไทยเราซึ่งมีการปลูกกันทั่วทุกแห่งของประเทศ อาจารย์ชัยยุทธ หาญใจ หัวหน้าฝ่ายการทำกระดาษาสา ศูนย์ส่งเสริมอุสาหกรรมภาค 1 จังหวัดเชียงใหม่ และอาจารย์สมบรูณ์ นพเกล้านพคุณ เป็นอีกท่านหนึ่งที่ได้ร่วมทำการทดลองนำต้นกล้วยไข่มาลองทำกระดาษ ปรากฎว่าได้ผล มีลวดลายที่สวยงาม ในเรื่องของคุณสมบัติของกระดาษกล้วยไข่จะมีการหดตัวสูงกว่าวัสดุอื่นๆที่นำมาใช้ทำกระดาษ การทดลองทำกระดาษจากกล้วยไข่เริ่มขึ้นเมื่อ เดือน ธันวาคม ปี 2542 โดยนำต้นกล้วยมาสับ แช่ในโซดาไฟ เพื่อให้เยื่อสลายตัวแล้วนำมาตีในเครื่องตีเยื่อกระดาษ แล้วนำมาทำเป็แผ่น การผลิตกระดาษกล้วยไข่มีกรรมวิถีการผลิตเช่นเดียวกันกับกระดาษสา ผลการทดลองเป็นที่พอใจ สามารถนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์ได้ดีและสวยงาม ข้อเสียของกระดาษที่ทำจากต้นกล้วย การทำแผ่นเมื่อแห้งแล้วมีการหดตัวสูงมาก อาจหย่นทำให้เสียทรง แผ่นกระดาษออกมาไม่สวย แต่ให้ลวดลายที่เด่นใช้ แหล่งที่ผลิตกระดาษจากกล้วยไข่

ในจังหวัดกำแพงเพชรเท่าที่รู้มีการทำอยู่ 3 กลุ่ม -ชมขนเพชรกระรัต มีการทำใน ร.ร.วรนาถวิทยา อยู่ในชุมชนเทศบาล ปริมาณในการผลิตไม่แน่ชัด ผลิตเพื่อเรียนรู้ทางการศึกษา -บ้านเพชรนคร เลขที่144 หมู่ 21 ต.เทพนคร อ.เมือง จ.กำแพงเพชร ผลิตกระดาษแผ่นเป็นหลัก ไม่มีสารเคมีในการย่อยสลายของวัตถุดิบ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

อาจารย์ชัยยุทธ หาญใจ หัวหน้าฝ่ายการทำกระดาษาสา ศูนย์ส่งเสริมอุสาหกรรมภาค 1 จังหวัดเชียงใหม่ และอาจารย์สมบรูณ์ นพเกล้านพคุณ เป็นอีกท่านหนึ่งที่ได้ร่วมทำการทดลองนำต้นกล้วยไข่มาลองทำกระดาษ ปรากฎว่าได้ผล มีลวดลายที่สวยงาม ในเรื่องของคุณสมบัติของกระดาษกล้วยไข่จะมีการหดตัวสูงกว่าวัสดุอื่นๆที่นำมาใช้ทำกระดาษ การทดลองทำกระดาษจากกล้วยไข่เริ่มขึ้นเมื่อ เดือน ธันวาคม ปี 2542 โดยนำต้นกล้วยมาสับ แช่ในโซดาไฟ เพื่อให้เยื่อสลายตัวแล้วนำมาตีในเครื่องตีเยื่อกระดาษ แล้วนำมาทำเป็แผ่น การผลิตกระดาษกล้วยไข่มีกรรมวิถีการผลิตเช่นเดียวกันกับกระดาษสา ผลการทดลองเป็นที่พอใจ สามารถนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์ได้ดีและสวยงาม ข้อเสียของกระดาษที่ทำจากต้นกล้วย การทำแผ่นเมื่อแห้งแล้วมีการหดตัวสูงมาก อาจหย่นทำให้เสียทรง แผ่นกระดาษออกมาไม่สวย แต่ให้ลวดลายที่เด่นใช้
กำลังผลิตกระดาษได้วันละ500-700 แผ่น /วัน ส่วนใหญมีการสั่งฃื้อล่วงหน้าและนำไปจำหน่าย ไม่มีจำหน่ายในท้องถิ่น ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตามสั่ง ปัจจุบันกระดาษที่ทำจากวัสดุทางธรรมชาตินับวันที่จะมีความต้องการสูง ดังเช่นกระดาษสา กระดาษสับปะรด กระดาษมูลช้าง กระดาษใบเตย กระดาษต้นลิ้นมังกร กระดาษดอกดาหลา กระดาษฟางข้าว และกระดาษต้นข้าวโพด วัสดุทางธรรมชาติเหล่ามีมากมายในเมืองไทย ราคาถูกและปลูกกันมาก ความต้องการของตลาดยังต้องการอีกมาก ฉะนั้นถ้าคนไทยได้ช่วยกันสร้างงานจากวัสดุทางธรรมชาติที่ต้องทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ ภูมิปัญญาเหล่าจะสามารถสร้างงานให้ชุมชนได้มีอาชีพที่ยั่งยืนได้อีกมาก กระดาษที่ทำจากต้นกล้วยไข่ และต้นกล้วยชนิดอื่นๆซึ่งมีมากกว่า 100 ชนิด การนำเยื่อใยมาใช้ในการผลิตกระดาษสามารถนำมาใช้ได้ 100 เปอร์เซ็น ทุกส่วนของต้นกล้วยสามารถทำได้ อยู่ที่วิธีการและเทคนิคการผลิตที่ต้องปรับแต่งให้เหมาะสม การนำต้นกล้วยมาทำกระดาษนั้น กาบของกล้วยสามารถนำมาสับบดด้วยมีดหรือเครื่องสับอื่นๆได้ง่าย แยกออกเป็นชิ้นๆ คัดคุณภาพของเยื่อใยที่จะนำมาใช้ได้ง่าย กล้วยทุกๆสายพันธ์ของต้นกล้วย นำมาใช้ทำกระดาษได้ทั้งหมด การนำต้นกล้วยมาทำกระดาษต้องใช้ต้นกล้วยที่มีลูกแล้ว จะมีอายุราว 8-10 เดือนหรือตัดเครือกล้วยแล้ว จะได้เยื่อใยที่ดีมีความเหนี่ยวดีและมีคุณภาพ แต่ถ้าจะนำต้นกล้วยที่ไม่มีลูก ยังไม่ได้อายุมาทำกระดาษก็สามารถทำได้เช่นเดียวกันแต่จะมีคุณภาพจะด้อยกว่าในด้านเยื่อใย ความเหนี่ยวของกระดาษไม่ดี

ข้อเสนอแนะ กระดาษที่ผลิตจากต้นกล้วยไข่หรือกล้วยทุกชนิด จะมีน้ำอยู่มากในลำต้น การตากแห้งก่อนการนำไปต้มเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้การทำกระดาษมีประสิทธิภาพ ช่วยลดขั้นตอนในการต้มลงได้มากใช้เวลาในการต้มน้อยลง วัสดุที่แห้งแล้วยังสามารถเก็บไว้ใช้ได้ในคราวต่อไปอีกไม่เน่าหรือเสียหาย กล่องใส่ของ 3 ดรุณี เป็นผลิตภัณฑ์กระดาษกล้วยอีกแบบหนึ่ง ที่ศูนย์พาณิชยกรรมจังหวัดกำแพงเพชรให้การสนับสนุนในด้านการออกแบบตามความต้องการของตลาด โดยใช้กระดาษกล้วยไข่สีธรรมชาติมาทำ ได้ลวดลายที่สวย


แหล่งที่ผลิตกระดาษจากกล้วยไข่
กระดาษกล้วยหรือกระดาษกล้วยไข่ท่านทราบไหมว่ามีการเริ่มทำมาจากที่ไหน เมื่อไรและใคร เป็นผู้ริเริ่มขึ้น แต่ไม่ใช่ทีกำแพงเพชร แน่นอน เพราะจากการศึกษาการทำกระดาษาจากวัสดุต่างๆเช่น ปอสา ตะขบป่า ข่อย ฟางข้าว ใบเตย ดอกไม้ทุกชนิด ก้านดอก ดอกดาหลาและวัชพืชอื่นๆอีกมากมาย ทำให้เราได้รู้ถึงธรรมชาติในการทำกระดาษ ที่มีมาช้านานนั้นได้พัฒนา มาจนถึงปัจจุบันทำเป็นสินค้าสามารถส่งไปขายยังต่างประเทศที่ซึ่งมีความต้องการในการตลาดสูง กล้วยไข่ใช่ว่าจะมีการปลูกมากเฉพาะจังหวัดกำแพงเพชรเท่านั้น ทุกพื้นที่สามารถปลูกกล้วยไข่ไดีดีในอีกหลายๆพื้นที่ เช่นที่ อำเภอพนสนิคม จ.ชลบุรี มีการปลูกกันมากสามารถส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ นี่ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่เรื่องการทำกระดาษจากล้วยไข่ หลายๆฝ่ายที่ทำการคิดกรรมวิธีในการที่จะนำต้นกล้วยโดยเฉพาะที่นำเปลือกกล้วยมาใช้ประโยชน์ต่างๆแทนที่จะปล่อยให้เน่าเปลื่อยไปตามธรรมชาติ ในการนำมาทำกระดาษ ซึ่งก็สามารถทำได้ดีมีคุณภาพ ลวดลายสวยงามแบบเรื่องของกล้วย ซึ่งเป็นผลไม้ของไทยเราซึ่งมีการปลูกกันทั่วทุกแห่งของประเทศ

ปัจจุบันกระดาษที่ทำจากวัสดุทางธรรมชาตินับวันมีความต้องการสูง ดังเช่นกระดาษสา กระดาษสับปะรด กระดาษเปลือกข้าวโพด กระดาษมูลช้าง กระดาษใบเตย กระดาษต้นลิ้นมังกร กระดาษดอกดาหลา และกระดาษฟางข้าว วัสดุทางธรรมชาติเหล่ามีมากมายในเมืองไทย ราคาถูกและปลูกกันมาก ความต้องการของตลาดยังต้องการกกกกกกระดาษทุกประเภทอีกมากอีกมาก ฉะนั้นถ้าคนไทยได้ร่วมกันสร้างงานจากวัสดุทางธรรมชาติที่ต้องทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ ภูมิปัญญาเหล่าจะสามารถสร้างงานให้ชุมชนได้มีอาชีพที่ยั่งยืนตต่อไปได้อีกมาก กระดาษที่ทำจากต้นกล้วยไข่ และต้นกล้วยชนิดอื่นๆซึ่งมีมากกว่า 100 ชนิด การนำเส้นใยพืชมาใช้ในการผลิตกระดาษสามารถนำมาใช้ได้ 70-100 เปอร์เซ็น ทุกส่วนของต้นกล้วยสามารถทำได้ อยู่ที่วิธีการและเทคนิคการผลิตที่ต้องปรับให้เหมาะสม การนำต้นกล้วยมาทำกระดาษนั้น กาบของกล้วยสามารถนำมาสับบดด้วยมีดหรือเครื่องสับอื่นๆได้ง่าย แยกออกเป็นชิ้นๆ คัดคุณภาพของเยื่อใยที่จะนำมาใช้ได้ง่าย กล้วยทุกๆสายพันธ์ของต้นกล้วย นำมาใช้ทำกระดาษได้ทั้งหมด การนำต้นกล้วยมาทำกระดาษต้องใช้ต้นกล้วยที่มีลูกแล้ว จะมีอายุราว 8-10 เดือนหรือตัดเครือกล้วยแล้ว จะได้เยื่อใยที่ดีมีความเหนี่ยวดีและมีคุณภาพ แต่ถ้าจะนำต้นกล้วยที่ไม่มีลูก ยังไม่ได้อายุมาทำกระดาษก็สามารถทำได้เช่นเดียวกันแต่จะมีคุณภาพจะด้อยกว่าในด้านเส้นใย ความเหนี่ยวของกระดาษไม่ดี


ขั้นตอนวิธีการผลิตกระดาษกล้วยไข่
1. เตรียมต้นกล้วยไข่ ที่สับเป็นชิ้นแล้วขนาดยาวพอควรหรือประมาณ 1-2.5 ซม. ชั่งน้ำหนักรวม 100 กก.
2. ต้มให้สุกโดยให้เดือดประมาณ 1-2 ชั่วโมง
3. เข้าเครื่องบดระเอียด เครื่องบดเยื่อใยกาบกล้วยโดยเฉพาะสำหรับอุตสาหกรรมการทำกระดาษให้ละเอียด ปั่นเส้นใยให้ได้ความระเอียดตามที่ต้องการ จะมีความอ่อนนุ่มของใยกล้วย แล้วนำไปหมักทิ้งไว้ ประมาณ 3-4 วัน จะมีน้ำโคน ให้ล้างออกด้วยน้ำสะอาด หลายๆครั้ง จะได้เยื่อใยออกสีนำตาลอ่อน
4. ฟอกขาว โดยแช่ โฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 5-10% เป็นตัวฟอกขาว ไว้ 1 คืน ล้างน้ำให้สะอาด
5. ละลายสีแล้วต้มในภาชนะ เติ่มเกลือ15-20% ย้อมเยื่อกล้วยให้ได้สีที่ต้องการ หมักทิ้งไว้ 3-4 ชั่วโมง นำมาล้างน้ำให้สะอาด
6. เข้าเครื่องสบัดน้ำทิ้งหรือ บีบน้ำออกจากเยื่อ ปั้นเป็นก้อน ชั่งน้ำหนัก 300-400 กรัม/ก้อน
7. นำมาแตะแผ่น กระดาษที่แตะแผ่นในถาดแล้ว จะต้องมีน้ำหล่อเพื่อให้เยื่อกระจายได้ทั่วโดยใช้เฟรมตะแกรงมาตราฐานขนาด 55 ซม.X 80 ซม. (เป็นชนิดเดี่ยวกับกระดาษสา)
8. ตากแดดจนกระดาษแห้งแล้วลอกออกจากเฟรมนำไปใช้งานได้
9. กระดาษที่ได้จากต้นกล้วยไข่ นำไปทำผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เพื่อปรับมูลค่า ราคากระดาษที่จำหน่ายเป็นแผ่น ราคา 15 บาท/แผ่น
ข้อเสนอแนะ กระดาษที่ผลิตจากต้นกล้วยไข่หรือกล้วยทุกชนิด จะมีน้ำอยู่มากในลำต้น การตากแห้งก่อนการนำไปต้มเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้การทำกระดาษมีประสิทธิภาพ ช่วยลดขั้นตอนในการต้มลงได้มากใช้เวลาในการต้มน้อยลง วัสดุที่แห้งแล้วยังสามารถเก็บไว้ใช้ได้ในคราวต่อไปอีกไม่เน่าหรือเสียหาย